คู่มือการส่งเสริมเทคโนโลยีการผลิตถั่วลิสงพันธ์ุเกษตรศาสตร์ สวก.1

ทำไมต้องเป็น “ถั่วลิสงพันธ์ุเกษตรศาสตร์ สวก.1” และทำไมต้องเป็น “ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ” เพราะ…

ถั่วลิสงพันธ์ุเกษตรศาสตร์ สวก.1 มีลักษณะประจำพันธ์ุที่ดี คือ ทรงต้นแบบพุ่มตั้ง ไม่ยืดเลื้อย เปลือกฝักมีลาย เมล็ดใหญ่ เก็บเกี่ยวง่าย ให้ผลผลิตสูง ต้านโรคยอดไหม้ เหมาะสมกับพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยให้ผลผลิตเฉลี่ยต่อไร่ 279 กิโลกรัมต่อไร่

ถอดความลับการส่งเสริมการเกษตรเชิงพื้นที่สำหรับนักส่งเสริมการเกษตร

          กรมส่งเสริมการเกษตร นำกระบวนการส่งเสริมการเกษตรโดยใช้พื้นที่เป็นตัวตั้ง (Area – base) มาใช้ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2562 เพื่อเป็นการบูรณาการการทำงานของทุกภาคส่วนทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคชุมชน และสถาบันการศึกษาในการแก้ปัญหา และพัฒนาที่ยึดชุมชนเป็นศูนย์กลางการพัฒนา หวังผลในการกระจายผลประโยชน์สู่คนในชุมชน รวมทั้งยกระดับการพัฒนาเกษตรกรในการจัดการตนเอง การเชื่อมโยงภาคีเครือข่าย และการยกระดับสู่การเป็นผู้ประกอบการที่สอดคล้องกับศักยภาพแต่ละพื้นที่

          กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร ได้ถอดบทเรียนการดำเนินการ ปัจจัยความสำเร็จของการส่งเสริมการเกษตรเชิงพื้นที่ผ่านกระบวนการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง

แผนด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศ พ.ศ. 2566-2570

แผนด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศ พ.ศ. 2566-2570 โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม (สกสว.)

ที่มา : สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม (สกสว.)
https://s.moac.go.th/NBXj5y

R2R เสริมพลัง สร้างสรรค์ ผู้นำการเปลี่ยนแปลงในงานส่งเสริมการเกษตร พ.ศ. 2565

การวิจัยในงานส่งเสริมการเกษตร

การวิจัยในงานส่งเสริมการเกษตร ประกอบด้วย 5 บทเรียน

เอกสารการวิจัยในงานส่งเสริมการเกษตร

วีดีทัศน์การวิจัยในงานส่งเสริมการเกษตร

ตอนที่ 1.1 แนวคิดเกี่ยวกับการวิจัยในงานส่งเสริมการเกษตร

ตอนที่ 1.2 ขอบเขต ประเด็น ลักษณะ และประเภทของการวิจัยในงานส่งเสริมการเกษตร

ตอนที่ 2.1 การเตรียมการวิจัยในงานส่งเสริมการเกษตร

ตอนที่ 2.2 การดำเนินการวิจัยในงานส่งเสริมการเกษตร

ตอนที่ 2.3 การวิเคราะห์ข้อมูลการวิจัยทางส่งเสริมการเกษตร

ตอนที่ 3.1 การวิจัยเชิงสำรวจในงานส่งเสริมการเกษตร

ตอนที่ 3.2 การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมในงานส่งเสริมการเกษตร

ตอนที่ 4.1 การวิจัยเชิงบูรณาการในงานส่งเสริมการเกษตร 

ตอนที่ 4.2 การวิจัยในงานประจำในงานส่งเสริมการเกษตร (Routine to Research : R2R )

ตอนที่ 5.1 การเขียนผลงานวิจัยในงานส่งเสริมการเกษตร

ตอนที่ 5.2 การเผยแพร่และการนำผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในงานส่งเสริมการเกษตร